สลายไขมันด้วย Cool Sculpting

หน้าใส ลดริ้วรอย ด้วย สาหร่ายแดง - แอสต้าแซนธิน

แอสต้าแซนธิน  [กิฟฟารีน]

สาหร่ายแดง แอสต้าแซนธิน จาก นิวซีแลนด์

Astaxanthin series นำเข้าจาก Alpha Laboratories Newzealand 

แอสต้าแซนทีน สาหร่ายแดงสกัด นำเข้า จากแหล่งวัตถุดิบที่ดีที่สุด

----------------------------------------
แหล่งที่ดีที่สุด!!!

"ไม้สักทอง" ที่ดีที่สุด "ไทย,เพชรบูรณ์"
"ไวน์องุ่น" ที่ดีที่สุด "ฝรั่งเศส"
"ทับทิม" ที่ดีที่สุด "เปอร์เซีย, อิหร่าน"
"โสม" ที่ดีที่สุด "เกาหลี"
"สาหร่ายแดง" ที่ดีที่สุด "นิวซีแลนด์" 
---------------------------------------

แอสต้าแซนธิน กิฟฟารีน

 

วิธีรับประทาน : รับประทานวันละ 1-2 แคปซูล พร้อมอาหาร ขนาด 30แคปซูล
ราคา 660 บาท
อย.13-1-03440-1-0147
คำเตือน : อ่านคำเตือนในฉลากก่อนบริโภค 
เด็กและสตรีมีครรภ์ ไม่ควรรับประทาน ผลลัพธ์ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายแต่ละบุคคล เก็บที่อุณหภูมิห้อง หลีกเลี่ยงความชื้นและแสงแดด 

ความประทับใจจากผู้ใช้

ได้ยิน ความนิยม เรื่องสาหร่ายแดงมานาน แต่ไม่รู้จะเลือกยี่ห้อไหนดี พอดีเห็นของกิฟฟารีน นำเข้าจาก นิวซีแลนด์ และราคาก็ไม่แพง เลยลองซื้อมาใช้ดู ดิฉันเริ่มต้นจากใช้เซรั่มสาหร่ายแดงและทานวันละ2 เม็ด หลังจากใช้ไปประมาณเกือบเดือน ริ้วรอยลดลง จนเพื่อนทักกันบ่อยว่าหน้าดูเด็กลง.. รู้สึกมั่นใจมาก เลยสมัครสมาชิกไว้ใช้ และขายไปด้วยเลยค่ะ
เจ้เล็ก 52:  ธุรกิจค้าส่ง: ท่าพระ กรุงเทพ
ดิฉัน เป็นคนชอบขี้ตา ทำให้มักมีริ้วรอย ใต้ตา มีริ้วเล็กๆขึ้นเป็นจำนวนมาก แต่หลังจากทานสาหร่ายแดงไปได้ 2-3อาทิตย์นี่ล่ะ สังเกตุได้ว่า ริ้วรอยเล็กจางลงไปเยอะมากเลย และยังสังเกตุได้ว่า สายตาคมชัดขึ้นด้วยคะ--
หนิง 41, ช่างภาพ: ข้านไผ่ ขอนแก่น 
จากหน้าที่การงาน บุคลิกผิวพรรณเป็นเรื่องสำคัญ ปกติใช้ของเคาน์เตอร์แบรนด์ค่ะ แต่เพื่อนแนะนำ ว่า สาหร่ายแดงกิฟฟารีน ใส่สารสกัดเยอะมาก ใช้แล้วผิวชุ่มชื่น ก็เลยลองบ้าง เพราะราคา ไม่แพงเลย หลังจากนั้น ก็เลย ลองทานวันละ2เม็ด ควบคู่ไป:ถูกใจค่ะ ออกนอกบ้านได้ แม้ "หน้าสด"
แอน 36: วิทยากรพัฒนาบุคคล ;พระราม2
งานผมต้องเดินทาง ออกต่างจังหวัดบ่อย ชอบ  สาหร่ายแดงกิฟฟารีน ครับ เป็นแผง พกพาสะดวก ผมเน้นเรื่องลดริ้วรอย และบำรุงสายตา แถมยังช่วยลดไขมันเลว ได้ดีอีกด้วย ทานมาปีนึงแล้วครับ เห็นผลชัดมากๆเวลาไปงานเลี้ยงรุ่น หน้าดูอ่อนวัยกว่าใคร
นัท 42: วิศวกร ระบบ ; กรุงเทพ 
*ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล

Social

แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) 

แอสต้าแซนธิน กิฟฟารีนเป็นสารกลุ่มแคโรทีนอยด์ชนิดหนึ่งในกลุ่มแซนโทฟิลล์สามารถพบได้ ในแหล่งธรรมชาติ ในสภาพแวดล้อมทะเลไปจนถึงแอ่งหินทั่วไป รวมทั้งพบในเปลือกกุ้ง เปลือกปู และปลาชนิดต่างๆ เช่น ปลาแซลมอน ปลาเทราท์ (อ้างอิงที่ 4) ซึ่งมีประโยชน์มากมาย เช่น ช่วยป้องกันการเกิดออกซิเดชั่น ป้องกันการเสื่อมสภาพผิวจากแสงแดด และช่วยลดการอักเสบ (อ้างอิงที่ 5)
นอกจากนี้สามารถพบแอสตาแซนธินได้ในสาหร่ายพันธุ์ Haematococcus pluvialis (สาหร่ายแดง) ซึ่งถือได้ว่าเป็นแหล่งที่มีแอสตาแซนธินมากที่สุดในธรรมชาติ (อ้างอิงที่ 6)
และไม่ต่างกับแอสตาแซนธินที่อยู่ในปลาแซลมอนและสัตว์ทะเลอื่นๆ (อ้างอิงที่ 4)

แอสตาแซนธิน มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุดในสารกลุ่มแคโรทีนอยด์ด้วยกัน มีคุณสมบัติพิเศษคือ สามารถปรับตัวเองอยู่ได้ทั้งส่วนที่เป็นไฮโดรฟิลิก (ชั้นน้ำ) และไฮโดรโฟบิก (ชั้นไขมัน) ได้ทั้ง 2 ส่วน ต่างกับเบต้าแคโรทีนที่จะอยู่ได้เฉพาะส่วนที่เป็นชั้นไขมันและวิตามินซีจะอยู่ได้ เฉพาะส่วนที่เป็นชั้นน้ำ (อ้างอิงที่ 7) จึงมีคุณสมบัติที่เหนือกว่าในการป้องกันผนังเซลล์ซึ่งมีทั้งชั้นน้ำและไขมัน (Lipid bilayer) จากปฏิกิริยาเปอร์ออกซิเดชั่น 

งานวิจัยทางคลีนิคศึกษา ผลด้านสุขภาพผิวของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ที่มีส่วนประกอบของแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) ในกลุ่มอาสาสมัครผู้หญิงชาวอเมริกันวัยกลางคนที่สุขภาพดี พบว่า หลังจากสัปดาห์ที่ 6 อาสาสมัครกลุ่มที่ทานแอสตาแซนธินวันละ 4 มิลลิกรัม (2 x 2 มิลลิกรัม) มีสุขภาพผิวที่ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ริ้วรอยลดเลือนลง ความยืดหยุ่นของผิวดีขึ้น ผิวมีความชุ่มชื้นมากขึ้น เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับยาหลอก (placebo) (อ้างอิงที่ 8)

แอสต้าแซนธิน กิฟฟารีน

นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัยกับกลุ่มอาสาสมัครผู้หญิงจำนวน 30 คน อายุเฉลี่ย 20-55 ปี โดยให้อาสาสมัครรับแอสตาแซนธินจาก Haematococcus pluvialis 6 มิลลิกรัม ต่อวัน ควบคู่กับการใช้ ครีมจากแอสตาแซนธิน 2 มิลลิกรัม (สารละลาย 78.9 ไมโครโมล) หลังจากสัปดาห์ที่ 8 พบว่าริ้วรอยเหี่ยวย่นลดลง จุดด่างดำจากแสงแดดลดลง ความยืดหยุ่นของผิวดีขึ้น มีความชุ่มชื้นดีขึ้นทั้งในผิวชั้นหนังกำพร้าและหนังแท้ เมื่อมีการรับประทานร่วมกับการใช้ครีมบำรุงที่มีแอสตาแซนธิน (อ้างอิงที่ 4)

อีกงานวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (Randomized double-blind placebo controlled study) ทดลองในกลุ่มผู้ชายในประเทศญี่ปุ่นจำนวน 36 คน อายุระหว่าง 20 - 55 ปี แบ่งอาสามัครเป็น 2 กลุ่มเท่าๆ กัน คือกลุ่มที่ได้รับแอสตาแซธินจาก Haematococcus pluvialis 6 มิลลิกรัม จำนวน 18 คน และกลุ่มหนึ่งที่ได้รับยาหลอก (placebo) จำนวน 18 คน หลังจากสัปดาห์ที่ 6 พบว่า กลุ่มที่รับประทานแอสตาแซนธินมีสุขภาพผิวโดยรวมดีขึ้น ดังนั้น การรับประทานแอสตาแซนธินจึงช่วยทำให้ผิวมีสุขภาพดีขึ้นได้ทั้งในเพศหญิง และเพศชาย (อ้างอิงที่ 4)

นอกจากนี้ เนื่องจากแอสตาแซนธินเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีคุณภาพสูง ยังมีงานวิจัยของแอสตาแซนธินที่มีคุณประโยชน์ในด้านอื่นๆ อีก เช่น เรื่องสายตา และ การลดระดับไขมันในเลือดในผู้ที่มีน้ำหนักเกิน เป็นต้น

ทางด้านผลต่อสายตา และการมองเห็น  มีงานวิจัยของประเทศอิตาลี เป็นการทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม โดยวัดความสามารถในการมองเห็น (visual acuity (VA), contrast sensitivity (CS) and National Eye Institute visual function questionnaire (NEI VFQ-25) scores)

ของอาสาสมัครกลุ่มทดลองที่รับประทานแอสตาแซนธิน 4 มก. ร่วมกับลูทีน 10 มก. ซีแซนทีน 1 มก. ต่อวัน เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่รับประทาน ติดตามผลเป็นเวลาสองปี พบว่า อาสาสมัครมีความสามารถในการมองเห็นดีขึ้นกว่ากลุ่มที่ไม่รับประทาน อย่างมีนัยสำคัญ (อ้างอิงที่ 9)

ทางด้านไขมันในเลือด  งานวิจัยของประเทศเกาหลี ทำการทดลองแบบมีกลุ่มควบคุมในผู้ที่น้ำหนักเกิน โดยผู้รับการวิจัยและผู้รับการรักษาไม่ทราบว่ารับประทานแอสตาแซนธิน หรือ ยาหลอก (Randomized, double-blind, placebo-controlled study) พบว่า การรับประทานแอสตาแซนธินมีผลดีต่อระดับไขมันในเลือด โดยลดแอล ดี แอล โคเลสเตอรอล (LDL Cholesterol) ได้อย่างมีนัยสำคัญ และมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระได้จริงในผู้ที่มีน้ำหนักเกิน (อ้างอิงที่ 10)

วิตามินซี กับ ความสวยความงาม

วิตามินซี เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ดี มีส่วนช่วยในการสร้างเนื้อเยื่อคอลลาเจน จึงช่วยลดการเกิดริ้วรอยและช่วยป้องกันอันตรายจากรังสียูวีจากแสงแดด นอกจากนี้ยังสามารถลดภาวะการเกิดผิวหมองคล้ำได้อย่างนัยสำคัญ จึงเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผิวพรรณแลดูกระจ่างใสและมีสุขภาพดี (อ้างอิงที่ 11,12)

การทำงานร่วมกันของแอสตาแซนธินและวิตามินซี จึงให้คุณสมบัติการเป็นสาร ต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพสูงมาก จะส่งผลดีต่อสุขภาพผิวพรรณ โดยสามารถ ลดการเกิดริ้วรอย ลดจุดด่างดำ เพิ่มความชุ่มชื้นและความยืดหยุ่นให้กับผิว ลดการเสื่อมสภาพของเซลล์ผิว ทำให้ผิวพรรณดูมีสุขภาพดี อ่อนวัย และกระจ่างใสแม้ตัวเลขของอายุจะเพิ่มขึ้นก็ตาม

 


ลงทะเบียนทำบัตรส่วนลด25%ตลอดชีพ พร้อมสิทธิพิเศษอื่นๆ

 
  
 เลือกความโปรโมชั่นที่ต้องการ*

เอกสารอ้างอิง : งานวิจัย ทางการแพทย์  
1. Jirum J., and Srihanam P. (2011). Oxidants and antioxidants: Sources and mechanism. Academic Journal of Kalasin Rajabhat University. 1(1): 59-70.
2. นายแพทย์วิโรจ สินธวานนท์. (2556). ผิวหนัง อวัยวะมหัศจรรย์. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.inderm.go.th/inderm_th /Health/health_00.html. 9 พฤษภาคม 2556
3. Halliwell B. (2009). The wanderings of a free radical. Free Radical Biology and Medicine. 46: 531–542.
4. Tominaga K., Hongo N., Karato M., and Yamashita E. (2012). Cosmetic benefits of astaxanthin on humans subjects. Acta Biochimica Polonica. 59(1): 43-47.
5. Guerin M., Huntley M.E., and Olaizola M. (2003). Haematococcus astaxanthin: applications for human health and nutrition. Trends in Biotechnology. 21(5): 210-216.
6. Hussein G., Sankawa U., Goto H., Matsumoto., and Watanabe H. (2006). Astaxanthin, a carotenoid with potential in human health and nutrition. Journal of Natural Products. 69(3): 443-449.
7. Nishida Y., Yamashita E., and Miki W. (2007). Quenching Activities of Common Hydrophilic and Lipophilic Antioxidants agints Singlet Oxygen Using Chemiluminescence Detection System. Carotenoid Science. 11: 16-20.
8. Yamashita E. (2006). The Effect of a Dietary Supplement Containing Astaxanthin on Skin Condition. Carotenoid Science. 10: 91-95..
9. Piermarocchi S., Saviano S., Parisi V., Tedeschi M., Panozzo G., Scarpa G., Boschi G., and Lo Giudice G. (2012). Carotenoids in Age-related Maculopathy Italian Study (CARMIS): two-year results of a randomized study. European Journal of Ophthalmology. 22(2): 216-225.
10. Choi H.D., Youn Y.K., and Shin W.G. (2011). Positive effects of astaxanthin on lipid profiles and oxidative stress in overweight subjects. Plant Foods for Human Nutrition. 66(4): 363-369.
11. ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเรื่อง การแสดงข้อความกล่าวอ้างเกี่ยวกับหน้าที่ของสารอาหาร คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
12. Yang B.W., Lin Y.M., Wang S.Y., Yeh D.C. (2012). The study of absorption efficiency and restoring effects of collagen and ascorbic acid on aged skin by fluorescence and reflection spectroscopy. Guang Pu Xue Yu Guang Pu Fen Xi. Dec;32(12): 3299-303.

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อ คุณเช ยุทธเดช Admin โทร/LINE. 086-677-6694

เว็บไซต์ Anattara.com (อนัตตา) นี้
ได้รับการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กับกรมธุรกิจการค้า เลขที่ 7351551001195
คุณจึงมั่นใจว่าจะได้รับพัสดุอย่างไม่มีปัญหา
หลังจากกรอกข้อมูลหากท่านไม่พบอีเมล์ตอบรับ
กรุณาตรวจดูในเมล์ขยะ (junkmail)
ภายในกล่องจดหมายของท่าน โดยเฉพาะผู้ที่ใช้ hotmail 

(ตรวจดูรายละเอียดต่างๆ ได้จากอีเมล์ตอบรับ จะส่งถึงคุณทันทีหลังจากกรอกข้อมูล) 
หากพบปัญหาใดๆ ในการกรอกข้อมูลการลงทะเบียน กรุณาติดต่อ คุณเช ยุทธเดช Admin           โทร/LINE. 086-677-6694